23 พ.ย. 2564
การผันเปลี่ยนจากวัยมัธยมมาศึกษาต่อในรั้วมหาวิทยาลัย เป็นอีกหนึ่งความท้าทายของผู้ที่อยู่ในช่วงวัยการศึกษา และเมื่อเกิดโรคระบาดอย่าง COVID-19 ทำให้ภาพรวมระบบการศึกษาของมหาวิทยาลัยดูค่อนข้างแตกต่างไปจากที่เคยเป็น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่นี้เปรียบเสมือนเกณฑ์บังคับให้นักศึกษาและเจ้าหน้าที่ของวิทยาลัยต้องรับมือกับผลกระทบอย่างรวดเร็ว
15 ต.ค. 2564
เคยสงสัยกันไหมว่า… เวลาที่เราถามอะไรคนที่โตกว่าบ่อยๆ จนบทสนทนาเริ่มยืดยาว คำตอบที่ทำให้เรามักจะถามต่อไม่ถูกคือ “โตขึ้นเดี๋ยวก็รู้เอง” เชื่อได้เลยว่า หลายคนที่ได้ยินคำนี้ คงมีคำถามว่า “ทำไม?” โผล่ขึ้นมาเต็มหัว “ทำไมถึงไม่ตอบเลยล่ะ?” “ทำไมต้องรอให้โตขึ้น? “แล้วโตขึ้นคือต้องโตเท่าไหน?”
22 ก.ย. 2564
สำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (ค.ศ. 2001 - ค.ศ. 2100) จากการศึกษา แผนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เปรียบเทียบกับการเรียนรู้ ใน ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1901 - ค.ศ. 2000) นั้นมีความแตกต่างกัน เพราะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นให้คนลดการเรียนรู้ทางด้านวิชาการลงแต่ไปเพิ่มการพัฒนาทักษะต่างๆ ให้มากขึ้น
17 ก.ย. 2564
สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านทุกท่านวันนี้ทางผู้เขียนมีเรื่องราวดีๆ มาแบ่งปันอีกเช่นเคย เป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับการทำงานในปัจจุบันนี้ นั่นคือเรื่อง “การใช้อีเมลทางธุรกิจอย่างมืออาชีพ” ที่หลายคนอาจจะข้องใจว่า “เอ๊ะ! มันเป็นเรื่องง่ายๆ ที่ใครก็ใช้เป็น…ทำไมต้องมาบอกด้วย”
16 ก.ย. 2564
ในสภาวะเช่นนี้ อาจจะส่งผลกระทบต่อความสุขในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นการใช้ชีวิต วัยเรียน วัยทำงาน วันนี้ผู้เขียนมีวิธีส่งเสริมความสุขในชีวิตมานำเสนอแก่ท่านผู้อ่านกันครับ จะมีเทคนิคไหนที่ตรงใจกับท่านผู้อ่านบ้างไปเริ่มกันเลย สำหรับ 9 เทคนิคสร้างความสุขที่ไม่ต้องลงทุนมากมายอะไร ซึ่งง่าย เหมาะกับทุกคนและยังสามารถปรับใช้ได้ทันทีแค่เพียงเริ่มต้นวันนี้ !!
14 ก.ย. 2564
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังก้าวเข้าสู่ “ยุคดิจิทัล” หรือ “ยุค 4.0” ซึ่งคำว่า 4.0 หมายถึง ลำดับการพัฒนาอุตสาหกรรมในครั้งที่ 4 โดยเริ่มตั้งแต่ปี 2000 เป็นต้นมา ซึ่งหมายถึงการพัฒนาทางด้านการนำเทคโนโลยีและความคิดสร้างสรรค์มาใช้เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ซึ่งรวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงทางระบบการศึกษาเพื่อให้การเรียนการสอนตอบสนองต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมในยุค 4.0 จึงทำให้เกิดการเรียนการสอนที่มีการใช้เทคโนโลยี และอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ตได้
10 ก.ย. 2564
ในโลกปัจจุบันของคนวัยทำงาน เราต่างตกเป็นเหยื่อกระแสนิยมของสังคมที่กำลังบีบคนวัยทำงานให้พยายามกันสุดตัว เพื่อจะเป็นคนเก่งด้วยความเชื่อที่ว่าการที่ชีวิตคนเราจะมีความสุขได้ต้องประสบความสำเร็จในหลายด้าน
7 ก.ย. 2564
หลายท่านที่กำลังอยู่ในวัยทำงานเคยเป็นกันบ้างไหม ที่หลายครั้งมีโอกาสดีๆ ผ่านเข้ามามากมายในชีวิต ไม่ว่าจะเป็น พนักงานดีเด่น การเลื่อนตำแหน่ง การได้รับมอบหมายงานที่สำคัญ การเป็นตัวแทนบริษัทในการพูดหรือทำสิ่งต่างๆ ทริปศึกษาดูงานต่างประเทศ หรือ การขึ้นไปจับฉลากมอบของขวัญปีใหม่ให้คนอื่น ฯลฯ เราก็ไม่เคยถูกเลือกให้ได้รับโอกาสนั้น หรือ หากจะได้จริงคือโอกาสที่คนอื่นเกี่ยงปัดเศษเหลือมา แบบนี้เคยเจอกันไหมครับ ?
5 สิ่งที่ช่วยให้การตัดสินใจง่ายขึ้น เมื่อต้องเลือกมหาวิทยาลัย ในสถานการณ์ Covid-19
นักเรียนจะเลือกมหาวิทยาลัยอย่างไรหลังยุคโควิดระบาด
การผันเปลี่ยนจากวัยมัธยมมาศึกษาต่อในรั้วมหาวิทยาลัย เป็นอีกหนึ่งความท้าทายของผู้ที่อยู่ในช่วงวัยการศึกษา และเมื่อเกิดโรคระบาดอย่าง COVID-19 ทำให้ภาพรวมระบบการศึกษาของมหาวิทยาลัยดูค่อนข้างแตกต่างไปจากที่เคยเป็น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่นี้เปรียบเสมือนเกณฑ์บังคับให้นักศึกษาและเจ้าหน้าที่ของวิทยาลัยต้องรับมือกับผลกระทบอย่างรวดเร็ว
23 พ.ย. 2564
การผันเปลี่ยนจากวัยมัธยมมาศึกษาต่อในรั้วมหาวิทยาลัย เป็นอีกหนึ่งความท้าทายของผู้ที่อยู่ในช่วงวัยการศึกษา และเมื่อเกิดโรคระบาดอย่าง COVID-19 ทำให้ภาพรวมระบบการศึกษาของมหาวิทยาลัยดูค่อนข้างแตกต่างไปจากที่เคยเป็น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่นี้เปรียบเสมือนเกณฑ์บังคับให้นักศึกษาและเจ้าหน้าที่ของวิทยาลัยต้องรับมือกับผลกระทบอย่างรวดเร็ว
15 ต.ค. 2564
เคยสงสัยกันไหมว่า… เวลาที่เราถามอะไรคนที่โตกว่าบ่อยๆ จนบทสนทนาเริ่มยืดยาว คำตอบที่ทำให้เรามักจะถามต่อไม่ถูกคือ “โตขึ้นเดี๋ยวก็รู้เอง” เชื่อได้เลยว่า หลายคนที่ได้ยินคำนี้ คงมีคำถามว่า “ทำไม?” โผล่ขึ้นมาเต็มหัว “ทำไมถึงไม่ตอบเลยล่ะ?” “ทำไมต้องรอให้โตขึ้น? “แล้วโตขึ้นคือต้องโตเท่าไหน?”
22 ก.ย. 2564
สำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (ค.ศ. 2001 - ค.ศ. 2100) จากการศึกษา แผนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เปรียบเทียบกับการเรียนรู้ ใน ศตวรรษที่ 20 (ค.ศ. 1901 - ค.ศ. 2000) นั้นมีความแตกต่างกัน เพราะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นให้คนลดการเรียนรู้ทางด้านวิชาการลงแต่ไปเพิ่มการพัฒนาทักษะต่างๆ ให้มากขึ้น
14 ก.ย. 2564
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังก้าวเข้าสู่ “ยุคดิจิทัล” หรือ “ยุค 4.0” ซึ่งคำว่า 4.0 หมายถึง ลำดับการพัฒนาอุตสาหกรรมในครั้งที่ 4 โดยเริ่มตั้งแต่ปี 2000 เป็นต้นมา ซึ่งหมายถึงการพัฒนาทางด้านการนำเทคโนโลยีและความคิดสร้างสรรค์มาใช้เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ซึ่งรวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงทางระบบการศึกษาเพื่อให้การเรียนการสอนตอบสนองต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมในยุค 4.0 จึงทำให้เกิดการเรียนการสอนที่มีการใช้เทคโนโลยี และอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ตได้
25 มี.ค. 2564
พูดคุยกับ Dr. Linda Liukas คุณครูสาวจากฟินแลนด์ และเจ้าของผลงานหนังสือภาพสำหรับเด็กที่มีการแปลไปกว่า 100 ภาษาอย่าง ‘Hello Ruby’ ที่อธิบายพื้นฐานการเขียนโปรแกรมที่แม้แต่เด็ก 4 ขวบก็สามารถเรียนได้ ทั้งนี้ Dr.Linda Liukas ได้มาพูดคุยกับ Techsauce ในหัวข้อของ ระบบการศึกษา (Education System) ที่มีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรเมื่อ COVID-19 ระบาดไปทั่วโลก และบทบาทของวงการการศึกษาจะเป็นอย่างไรต่อไปหลังจากนี้
23 มี.ค. 2564
ในการที่จะทำตัวให้ก้าวทันผู้อื่นในยุคที่มีการเกิดขึ้นของสิ่งใหม่ตลอดเวลา อีกทั้งองค์กรต่างก็ต้องการคนที่มีทักษะที่พร้อมต่อการปฏิบัติงาน เพื่อให้ก้าวตามได้ทัน เราจะทำตัวให้เป็นคนที่เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลาได้อย่างไร
23 มี.ค. 2564
Edtech startups กำลังได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก ยิ่งในช่วง Covid-19 เห็นได้ชัดว่าเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทอย่างมากในภาคการศึกษา ทำให้การศึกษาสามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น สะดวกขึ้น และมีคุณภาพมากขึ้น นักลงทุนทั่วโลกมีการคาดการณ์ว่า unicorn ต่อ ๆ ไปจะมาจากภาคการศึกษา เพราะนี่คือจังหวะที่คนพร้อมรับการใช้เครื่องมือ digital มากขึ้น การศึกษากำลังถูก disrupt ด้วยเทคโนโลยี การศึกษาไม่ได้ปิดกั้นอยู่แค่ในโรงเรียนอีกต่อไป ทุกคนต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต และมีผู้คนจำนวนมากที่ต้อง reskill เพื่อเอาตัวรอดจาก digital disruption ที่ปฏิวัติตลาดแรงงาน
22 มี.ค. 2564
ยังจำได้ไหม? กับการเรียนหนังสือในห้องเรียน ทำการบ้านในสมุดส่งคุณครู สงสัยการบ้านข้อไหนก็ต้องโทรถามเพื่อน หรือส่งข้อความ msn บนคอมพิวเตอร์ เวลาเรียนพิเศษก็ต้องเดินทางไปที่สถาบันเพื่อไปนั่งเรียนในห้องเรียนตามเวลาที่สถาบันกำหนด
17 ก.ย. 2564
สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านทุกท่านวันนี้ทางผู้เขียนมีเรื่องราวดีๆ มาแบ่งปันอีกเช่นเคย เป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับการทำงานในปัจจุบันนี้ นั่นคือเรื่อง “การใช้อีเมลทางธุรกิจอย่างมืออาชีพ” ที่หลายคนอาจจะข้องใจว่า “เอ๊ะ! มันเป็นเรื่องง่ายๆ ที่ใครก็ใช้เป็น…ทำไมต้องมาบอกด้วย”
16 ก.ย. 2564
ในสภาวะเช่นนี้ อาจจะส่งผลกระทบต่อความสุขในหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นการใช้ชีวิต วัยเรียน วัยทำงาน วันนี้ผู้เขียนมีวิธีส่งเสริมความสุขในชีวิตมานำเสนอแก่ท่านผู้อ่านกันครับ จะมีเทคนิคไหนที่ตรงใจกับท่านผู้อ่านบ้างไปเริ่มกันเลย สำหรับ 9 เทคนิคสร้างความสุขที่ไม่ต้องลงทุนมากมายอะไร ซึ่งง่าย เหมาะกับทุกคนและยังสามารถปรับใช้ได้ทันทีแค่เพียงเริ่มต้นวันนี้ !!
10 ก.ย. 2564
ในโลกปัจจุบันของคนวัยทำงาน เราต่างตกเป็นเหยื่อกระแสนิยมของสังคมที่กำลังบีบคนวัยทำงานให้พยายามกันสุดตัว เพื่อจะเป็นคนเก่งด้วยความเชื่อที่ว่าการที่ชีวิตคนเราจะมีความสุขได้ต้องประสบความสำเร็จในหลายด้าน
7 ก.ย. 2564
หลายท่านที่กำลังอยู่ในวัยทำงานเคยเป็นกันบ้างไหม ที่หลายครั้งมีโอกาสดีๆ ผ่านเข้ามามากมายในชีวิต ไม่ว่าจะเป็น พนักงานดีเด่น การเลื่อนตำแหน่ง การได้รับมอบหมายงานที่สำคัญ การเป็นตัวแทนบริษัทในการพูดหรือทำสิ่งต่างๆ ทริปศึกษาดูงานต่างประเทศ หรือ การขึ้นไปจับฉลากมอบของขวัญปีใหม่ให้คนอื่น ฯลฯ เราก็ไม่เคยถูกเลือกให้ได้รับโอกาสนั้น หรือ หากจะได้จริงคือโอกาสที่คนอื่นเกี่ยงปัดเศษเหลือมา แบบนี้เคยเจอกันไหมครับ ?
14 ส.ค. 2563
เคยเป็นกันไหม อยู่ดีๆ ก็รู้สึกโกรธขึ้นมา อาจจะเพราะด้วยเรื่องงาน เรื่องความสัมพันธ์ หรือเรื่องอื่นๆ ที่เราไม่อาจจะควบคุมได้ มนุษย์ทุกคนย่อมมีความโกรธ เมื่อเผชิญหน้ากับสภาวะกดดันหรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงพอใจ ซึ่งความโกรธเป็นอารมณ์เชิงลบที่ถ้าหากควบคุมไม่ได้ ก็อาจสร้างความเสียหาย ความวุ่นวาย ให้กับชีวิตตัวเองและคนรอบข้าง
22 มิ.ย. 2563
‘แป๊บนึง’ ‘เอาไว้ก่อน’ ‘เดี๋ยวค่อยทำก็ได้’ การผลัดวันประกันพรุ่ง (procrastination) เป็นเรื่องง่ายๆ ที่หลายคนน่าจะคุ้นเคยกันดี มันคือการหยิบยืมความสบายในอนาคตมาใช้ ทำให้ปัจจุบันเรารู้สึกสบายกายสบายใจ เพราะเราได้ผลักภาระที่มีอยู่ออกไป ไว้อีกซัก 5-10 นาทีค่อยทำ หรืออีก 6 ชั่วโมงดี หรืออีก 2 วันก็ได้มั้ง หรือเผลอๆ ก็อาจจะไม่ทำเลยก็ได้
15 มิ.ย. 2563
มีคำกล่าวที่ว่าความแน่นอนเดียวในชีวิตของคนเรา คือการเปลี่ยนแปลง และแม้ว่าในชีวิตจะมีบางสิ่งที่เราสามารถควบคุมได้ เช่น การกดรีโมตเพื่อเปลี่ยนช่องโทรทัศน์ แต่ก็มีอีกหลายอย่างที่อยู่นอกเหนือจากการควบคุมของเรา และเราไม่สามารถกดรีโมตเพื่อควบคุมสิ่งเหล่านั้นได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวะปัจจุบันที่ “การเปลี่ยนแปลง” ดูจะกลายเป็นเรื่องปกติใหม่ในสังคม เพราะเรากำลังเผชิญหน้ากับสถานการณ์ที่ไม่ได้มีคำตอบเดียวที่ถูกต้องที่สุด ดังนั้นหนึ่งในทักษะที่อาจเป็นแรงเสริมให้เราสามารถก้าวต่อไปข้างหน้าได้ คือทักษะในการทักทาย “ความเปลี่ยนแปลง” เมื่อความเปลี่ยนแปลงได้เดินเข้ามาทักทายชีวิตของคุณ
10 มิ.ย. 2563
อาชีพรับจ้างอิสระหรือ gig economy กำลังเติบโตขึ้นเรื่อยๆ เพราะผู้คนสมัยใหม่ โดยเฉพาะมิลเลนเนียล มีนิสัยชอบทำงานที่มีความยืดหยุ่น ไม่ยึดติดกับเวลา สถานที่ หรือระบบขององค์กร ทำให้พวกเขาเริ่มทำงานประจำกันน้อยลง และหันมาประกอบอาชีพที่เราเรียกติดปากว่า ‘ฟรีแลนซ์’ (freelance) กันมากขึ้น
ไม่ใช่พ่อรวยสอนลูก แต่คือหลักสูตรผู้ประกอบการที่สอนให้ทำได้ ทำเป็น
เพียงระยะไม่กี่ปีนี้ เกิดธุรกิจ startup ทั้งแอพพลิเคชั่นหรือสินค้าบริการหลากหลายต่างๆ ขึ้นเป็นจำนวนมาก ไม่เพียงธุรกิจเหล่านั้นเข้ามาเปลี่ยนไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิต ยังส่งอิทธิพลถึงโครงสร้างเศรษฐกิจในปัจจุบันอย่างรวดเร็วด้วย ผู้ประกอบการยุคใหม่ที่ทั้งเจ๋งและน่าสนใจก็มีมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่ว่าจะเป็น Grab, Wongnai, Airbnb, Lazada พวกเขามองเห็นโอกาสและสามารถผสมผสานไอเดียเข้ากับนวัตกรรมใหม่ๆ มาสร้างความสะดวกสบายให้ชีวิตง่ายดายและรวดเร็วยิ่งขึ้น
17 ก.ย. 2564
สวัสดีครับ ท่านผู้อ่านทุกท่านวันนี้ทางผู้เขียนมีเรื่องราวดีๆ มาแบ่งปันอีกเช่นเคย เป็นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับการทำงานในปัจจุบันนี้ นั่นคือเรื่อง “การใช้อีเมลทางธุรกิจอย่างมืออาชีพ” ที่หลายคนอาจจะข้องใจว่า “เอ๊ะ! มันเป็นเรื่องง่ายๆ ที่ใครก็ใช้เป็น…ทำไมต้องมาบอกด้วย”
7 ก.ย. 2564
หลายท่านที่กำลังอยู่ในวัยทำงานเคยเป็นกันบ้างไหม ที่หลายครั้งมีโอกาสดีๆ ผ่านเข้ามามากมายในชีวิต ไม่ว่าจะเป็น พนักงานดีเด่น การเลื่อนตำแหน่ง การได้รับมอบหมายงานที่สำคัญ การเป็นตัวแทนบริษัทในการพูดหรือทำสิ่งต่างๆ ทริปศึกษาดูงานต่างประเทศ หรือ การขึ้นไปจับฉลากมอบของขวัญปีใหม่ให้คนอื่น ฯลฯ เราก็ไม่เคยถูกเลือกให้ได้รับโอกาสนั้น หรือ หากจะได้จริงคือโอกาสที่คนอื่นเกี่ยงปัดเศษเหลือมา แบบนี้เคยเจอกันไหมครับ ?
12 มี.ค. 2563
ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เปิดเผย ผลสำรวจ 10 อันดับธุรกิจดาวรุ่ง-ดาวร่วง ปี 2563 มาดูกันว่าปีหน้ามีอะไรที่ทำแล้วน่าจะปัง และอะไรทำแล้วน่าจะร่วงกันบ้าง
10 มี.ค. 2563
ทักษะในการเข้าใจและใส่ใจผู้อื่น (Empathy) เอาใจเขามาใส่ใจเรา เป็นบ่อเกิดสำคัญของความสำเร็จ “หากเรามองผู้อื่นอย่างใส่ใจ เราจะเห็นใจและเข้าใจกัน” มากขึ้น
28 ก.พ. 2563
เพียงระยะไม่กี่ปีนี้ เกิดธุรกิจ startup ทั้งแอพพลิเคชั่นหรือสินค้าบริการหลากหลายต่างๆ ขึ้นเป็นจำนวนมาก ไม่เพียงธุรกิจเหล่านั้นเข้ามาเปลี่ยนไลฟ์สไตล์การใช้ชีวิต ยังส่งอิทธิพลถึงโครงสร้างเศรษฐกิจในปัจจุบันอย่างรวดเร็วด้วย ผู้ประกอบการยุคใหม่ที่ทั้งเจ๋งและน่าสนใจก็มีมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่ว่าจะเป็น Grab, Wongnai, Airbnb, Lazada พวกเขามองเห็นโอกาสและสามารถผสมผสานไอเดียเข้ากับนวัตกรรมใหม่ๆ มาสร้างความสะดวกสบายให้ชีวิตง่ายดายและรวดเร็วยิ่งขึ้น
13 ก.พ. 2563
คีย์เวิร์ดสำคัญอย่าง “Digital Transformation” ในยุคนี้เป็นแรงขับเคลื่อนทำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางตลาดแรงงานในปัจจุบันและอนาคต ผลวิจัย Employee Perspective 4.0 “พฤติกรรมการใช้เงิน การดำเนินชีวิต และความคิดเห็นที่มีต่อการทำงาน ของคนรุ่นใหม่ 4.0”
13 ก.พ. 2563
เทคโนโลยี 5G ตัวแปรสำคัญ ดันนวัตกรรมเกี่ยวเนื่องอย่าง AI และ IoT เกิดขึ้นอย่างแพร่หลาย เปลี่ยนโฉมพฤติกรรมผู้บริโภค โมเดลธุรกิจและภาคอุตสาหกรรม นายบียอน ทาล แซนเบิร์ก หัวหน้าศูนย์วิจัยเทเลนอร์ หน่วยงานวิจัยภายใต้เทเลนอร์กรุ๊ป กล่าวว่า “ในทศวรรษที่มา เทคโลยีดิจิทัลเข้ามามีบทบาทต่อชีวิตผู้คนและสังคมอย่างมาก และในปี 2020 วาระสำคัญของโลกเทคโนโลยีก็คือการให้บริการเชิงพาณิชย์แก่ประชาชนของเทคโนโลยี 5G ซึ่งจะไม่ใช่เพียงเรื่องความเร็วของการรับ-ส่งดาต้าเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงความหน่วงที่ลดลง ทำให้นวัตกรรมที่เกี่ยวเนื่องจะได้รับการพัฒนาอย่างแพร่หลาย ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงได้ ไม่ว่าจะเป็น AI และ IoT ดังนั้นจะเห็นได้ว่าเทคโนโลยี 5G เป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาเทคโนโลยีอย่างมาก
12 ก.พ. 2563
หากจะเปรียบเทียบ “ผู้นำ” ก็คือแม่ทัพขององค์กรที่เป็นผู้นำพากองทัพหรือองค์กรไปสู่สนามรบ คอยวางแผนและสร้างกลยุทธ์ในการต่อสู้กับศัตรู คอยกระตุ้นนักรบหรือคนในองค์กรให้ตื่นตัว คอยให้กำลังใจเมื่อหมดแรงใจ คอยชี้นำและพยายามประคองนักรบทั้งกองทัพไปสู่เป้าหมายคือ “ชัยชนะ” ดังนั้นบทบาทของการเป็นผู้นำในยุค 4.0 จึงสำคัญและมีอิทธิพลต่อคนในองค์กร
10 อันดับประเทศที่เหมาะต่อการเลี้ยงลูกมากที่สุดแห่งปี 2020
พ่อแม่หลายคนอาจหยิบลิสต์ชื่อประเทศกลุ่มพัฒนาแล้วมาขึงดูว่ามีประเทศอะไรบ้าง แน่นอนว่าหนึ่งในนั้นคงมีสหรัฐอเมริกาหรือสหราชอาณาจักร สองประเทศโลกที่หนึ่งที่ผู้ปกครองทั่วโลกมองว่าคงจะดีต่อการเลี้ยงลูกโดยเฉพาะคุณภาพการศึกษา หากดูเพียงมิติประเด็นการศึกษาความเห็นที่ว่าก็ใกล้เคียงกับข้อเท็จจริง รายงานล่าสุด ‘2020 Best Countries Report and Ranking’ จัดทำขึ้นระหว่าง BAV Group และ The Wharton School of the University of Pennsylvania เป็นการจัดอันดับผ่าน ‘มุมมอง’ หรือ ‘การรับรู้ของประชาชน’ ทั่วโลก ใช้การทำแบบสำรวจกับประชากรทั้งหมด 20,000 คนใน 73 ประเทศทั่วโลก (ทวีปอเมริกา เอเชีย ยุโรป ตะวันออกกลาง และแอฟริกา) โดยกำหนดตัวชี้วัดขึ้นมาใช้ให้ความเห็น
15 ต.ค. 2564
เคยสงสัยกันไหมว่า… เวลาที่เราถามอะไรคนที่โตกว่าบ่อยๆ จนบทสนทนาเริ่มยืดยาว คำตอบที่ทำให้เรามักจะถามต่อไม่ถูกคือ “โตขึ้นเดี๋ยวก็รู้เอง” เชื่อได้เลยว่า หลายคนที่ได้ยินคำนี้ คงมีคำถามว่า “ทำไม?” โผล่ขึ้นมาเต็มหัว “ทำไมถึงไม่ตอบเลยล่ะ?” “ทำไมต้องรอให้โตขึ้น? “แล้วโตขึ้นคือต้องโตเท่าไหน?”
2 ก.ย. 2563
บีบีซี ฟิวเจอร์ (BBB FUTURE) นำเสนอบทความเรื่อง “โควิด-19 กำลังทำให้โลกของเด็กๆ เปลี่ยนไปอย่างไร?” (How Covid-19 is changing the world’s children) มีเนื้อหาท่อนหนึ่งใจความว่า สิ่งที่น่ากังวลใจไม่แพ้การส่งเสริมทักษะความรู้ในช่วงที่เด็กๆ ถูกกักตัวอยู่ที่บ้าน คือ การพัฒนาด้านอารมณ์และการเข้าสังคมซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเด็กเล็กและประถมศึกษา นอกจากนี้ยังมีเรื่องสุขภาพจิตวัยรุ่นขณะใช้ชีวิตอยู่กับครอบครัวตลอด 24 ชั่วโมงเป็นระยะเวลานาน จากสถิติในสหรัฐอเมริกา พบว่า วัยรุ่นร้อยละ 35 ได้รับโอกาสเข้ารับการฟื้นฟูสุขภาพจิตภายใต้การดูแลของโรงเรียน ครูมักเป็นคนแรกที่สังเกตเห็นอาการผิดปกติแล้วกระตุ้นให้พวกเขาเข้ารับการรักษา สำหรับวัยรุ่นหลายคน ‘บ้าน‘ ไม่ใช่สถานที่ที่ทำให้พวกเขารู้สึกปลอดภัย เมื่ออยู่บ้านบางคนต้องเผชิญหน้ากับความรุนแรงในครอบครัวทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนั้น การต้องใช้ชีวิตอยู่กับบ้านอย่างต่อเนื่องในช่วงกักตัวแบบนี้จึงไม่ใช่เรื่องดีนักสำหรับพวกเขา
20 ส.ค. 2563
การปะทะกันระหว่างคนต่างรุ่นถูกพูดถึงบ่อยครั้งในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ทั้งมุมมองการใช้ชีวิต การทำงาน โดยเฉพาะในประเด็นการเมืองที่มี “คนรุ่นใหม่” เข้ามา มีทั้งคำชื่นชม เสียงเสียดสีในเชิงเด็กที่ไร้เดียงสาทางด้านการเมือง นอกจากนี้ยังมีคำอย่าง Generation Me ที่ใช้เรียกคนเจนหลังที่เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง และการสวนกลับว่า OK Boomer! ยังสะท้อนว่าความขัดแย้งระหว่างคนแต่ละช่วงอายุเป็นปัญหาที่มีทั่วโลก แม้ความขัดแย้งจะมีมากขึ้น แต่อย่างไรการทำงาน การอยู่ร่วมกันในสังคม ยังจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือของคนหลายเจเนอเรชันในการทำงานและการอยู่ร่วมกัน ความเข้าใจจึงเป็นเครื่องมืออีกเครื่องมือที่จะช่วยลดความขัดแย้ง
14 ส.ค. 2563
ตามธรรมชาติแล้วทารกจำเป็นต้องพึ่งพาใครสักคนที่จะมอบความรัก ความอบอุ่น ดูแลเอาใส่ใจเขาเพื่อความอยู่รอด พ่อแม่ผู้ให้กำเนิดอาจเป็นตัวเลือกแรกสุด หรืออาจเป็นญาติพี่น้องซึ่งเป็นผู้ใหญ่ใจดีสักคนเข้ามาทำหน้าที่ผู้เลี้ยงดู สุดแล้วแต่เหตุผลของชีวิต อย่างน้อยที่สุดเจ้าหนูต้องได้รับความรักความอบอุ่นเพื่อสร้างความรู้สึกปลอดภัยเป็นสุขหรือมีสิ่งที่เรียกว่า ‘ฐานที่มั่น’ (secure base) เพื่อให้เขากล้าออกไปเรียนรู้อย่างอุ่นใจและมีที่พักพิงอันปลอดภัยซึ่งเขาสามารถกลับไปหาได้เสมอ
2 ก.ค. 2563
ลำพังแค่คนอายุห่างกันไม่กี่ปี แต่อยู่ในโลกออนไลน์คนละใบ ใช้โซเชียลมีเดียคนละชุด เวลามาเจอหน้ากันจริงๆ ไม่ว่าจะทำงานด้วยกัน เสียงที่ต่างชัดเจนในวาระเลือกตั้ง หรือการต่อสู้ระหว่างประเทศในโลกทวิตภพ ก็ว่า ‘ห่าง’ แล้ว แต่หากคนต่างรุ่นอย่าง Baby Boomer มาเจอกันเจนอัลฟ่า หรือมารับรู้ว่าทุกวันนี้เจนเอ็กซ์พูดคุยกันเรื่องอะไร คิดและเชื่อมตัวเองสู่โลกภายนอกอย่างไร หลายครั้งทำให้เกิดการดูแคลนระหว่างกัน
25 มิ.ย. 2563
ปัจจุบันการรังแกกันในกลุ่มนักเรียนส่งผลกระทบกลายเป็นปัญหาสังคม และการใช้ความรุนแรงผ่านการกระทำ และคำพูดที่ไม่อาจมองข้ามได้ มุมมองและทัศนคติที่มีต่อความรุนแรง และการใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสมเพื่อสร้างความบันเทิงฝังรากอยู่ในสังคมไทยมาอย่างยาวนาน ส่งผลให้เกิดความเคยชิน และกลายเป็นเรื่องธรรมดาที่คนในสังคมจะมองคำพูดหรือการกระทำรุนแรงเป็นเรื่องสนุกสนาน ทั้งๆ ที่ควรแก้ไขประเด็นดังกล่าว และหันมามุ่งเน้นเรื่องการเห็นอกเห็นใจ การเคารพในความรู้สึก และร่างกายผู้อื่นให้มากยิ่งขึ้น อาศัยกระบวนการที่เหมาะสม และความร่วมมือร่วมใจจากหน่วยทางสังคมที่ส่งอิทธิพลต่อเด็ก และเยาวชนในการปรับพฤติกรรม เปลี่ยนมุมมองต่อการกลั่นแกล้งรังแกกันอย่างยั่งยืน ทั้งนี้การจะแก้ไข และป้องกันปัญหาการรังแกกันควรเริ่มกระทำตั้งแต่ครอบครัว สอดคล้องกับการดูแลส่งเสริมจากโรงเรียน และการจัดสภาพแวดล้อมของชุมชน ร่วมด้วยช่วยกันนั่นเอง
19 มิ.ย. 2563
ไม่มีใครโง่หรือฉลาดแต่กำเนิด เราสร้างความแข็งแรงและขยายขีดความสามารถของสมองให้มากขึ้นเหมือนกล้ามเนื้อได้ ถ้าเปรียบร่างกายที่สามารถฟิตซ้อมสมรรถะความแข็งแกร่งจนมีมัดกล้าม สมองก็สามารถแข็งแรงได้ด้วยการใช้งานเรียนรู้ฝึกฝนสิ่งใหม่ๆ ให้ด้านที่ไม่ถนัดสามารถพัฒนาให้คล่องแคล่ว ทักษะที่ดีอยู่แล้วก็กลายเป็นเชี่ยวชาญ กรอบคิดแบบเติบโต หรือ Growth Mindset เป็นหัวใจสำคัญของการเตรียมเด็กและคนรุ่นใหม่ ถ้าครูเสริมให้นักเรียนเข้าใจกลไกการทำงานของสมองที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ก็ยิ่งช่วยขยายภาพให้พวกเขามองเห็นศักยภาพที่ไม่สิ้นสุดของตัวเอง
19 มิ.ย. 2563
หัวดื้อ หัวแข็ง หัวร้อน พฤติกรรมที่คู่กับวัยรุ่น มองจากคนนอกก็คือการเปลี่ยนแปลงที่เข้าใจได้ แต่ผู้ปกครองที่ต้องอยู่กับ ‘การเปลี่ยนไป’ ของลูก และบรรยากาศที่ ‘งัดข้อ’ กันไม่หยุด ทำให้หลายคนปวดใจและปวดหัวกันไม่น้อย
นักเรียนกดไลก์..ใช่เลย! เคล็ดลับการสอนให้สนุกของคุณครู
หนึ่งในปัจจัยที่ทำให้นักเรียนอยากไปโรงเรียน คือการที่นักเรียนสนุกกับการเรียนรู้ในห้องเรียน อ้างอิงจากคู่มือดูแลสุขภาพจิตเด็กวัยเรียนของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ปัญหาของนักเรียนสมัยนี้คือไม่ตั้งใจเรียน สมาธิสั้น ขาดแรงจูงใจ เบื่อเรียน คุยกันระหว่างเรียน ดังนั้นเคล็ดลับการสอนให้สนุกของครูจะเป็นกลยุทธ์ที่ช่วยให้เด็กตั้งใจเรียน ชอบการเรียน ดึงดูดความสนใจและสร้างแรงจูงใจมากขึ้น เมื่อนักเรียนกลับมาสนุกกับการเรียน กับครูผู้สอน วิธีการสอน สื่อการสอนและรูปแบบการสอน นั่นจะทำให้นักเรียนมีส่วนร่วมในห้องเรียนกับครูได้เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็นการถามตอบ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งทำให้นักเรียนได้เรียนรู้ดีกว่าแค่นั่งฟังครูเฉยๆ
14 ก.ย. 2564
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังก้าวเข้าสู่ “ยุคดิจิทัล” หรือ “ยุค 4.0” ซึ่งคำว่า 4.0 หมายถึง ลำดับการพัฒนาอุตสาหกรรมในครั้งที่ 4 โดยเริ่มตั้งแต่ปี 2000 เป็นต้นมา ซึ่งหมายถึงการพัฒนาทางด้านการนำเทคโนโลยีและความคิดสร้างสรรค์มาใช้เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ซึ่งรวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงทางระบบการศึกษาเพื่อให้การเรียนการสอนตอบสนองต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมในยุค 4.0 จึงทำให้เกิดการเรียนการสอนที่มีการใช้เทคโนโลยี และอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ตได้
19 มี.ค. 2564
การเรียนการสอนมีการเปลี่ยนแปลงในทุกยุคทุกสมัย เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียน และมุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้ที่นำไปใช้ได้จริง ซึ่งในการเรียนรู้นอกจากจะมีผู้เรียนและผู้สอนแล้ว ยังต้องมีสื่อการเรียนการสอนเพื่อเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดความรู้ และสื่อการสอนเหล่านี้จะต้องมีการปรับเปลี่ยนให้ทันสมัยอยู่เสมอ
18 ก.ย. 2563
นี่คงเป็นคำพูดที่ทุกคนเคยได้ยินอย่างแน่นอน และเป็นสิ่งที่ทุกคนคิดจะใช้เพื่อเรียกให้ผู้ฟังทุกคนกลับมาอยู่ที่ตัวเองหรือผู้พูด สิ่งนี้ คงเป็นสิ่งที่คุณครูทุกคนคาดหวังว่าเวลาที่สอนหรือทำกิจกรรมอยู่ในห้องเรียน นักเรียนทุกคนก็กำลังฟัง ปฏิบัติตาม หรือมีส่วนร่วมอยู่ ซึ่งความคาดหวังนี้จะสามารถทำให้เป็นจริงได้ หากคุณครูนำเทคนิค 100% ไปใช้ให้เกิดขึ้นในห้องเรียน
10 ก.ย. 2563
การตั้งคำถามแบบโสเครติส’ (Socratic Questioning) การสร้างวิธีการเรียนรู้กับผู้คนด้วยการเข้าไปตั้งคำถามกับความเข้าใจที่ผู้คนมีก่อนหน้า และช่วยให้คู่สนทนารู้ว่าเขามีสิ่งที่ยังไม่รู้ เป็นวิธีคิดของโสเครติสนักปรัชญาชาวกรีก
10 ก.ย. 2563
ครูส่วนมากมักเข้าใจผิดในเรื่องข้อผิดพลาด มองเป็นสิ่งชั่วร้ายที่จะต้องแก้ไข จัดการซุกซ่อน แล้วดำเนินการชั้นเรียนต่อไป นั่นคือสิ่งที่ผิดสำหรับการศึกษา ซึ่งที่จริงแล้วควรต้องมองว่าในกระบวนการเรียนรู้ การทำสิ่งผิดพลาดเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนรู้
25 มิ.ย. 2563
เมื่อเรามองไปรอบๆ ตัว ในชีวิต ในโรงเรียน หรือในสังคมออนไลน์ของเรา เราอาจจะเจอกับคนกลุ่มที่เรารู้สึกว่าพวกเขากำลังประสบความสำเร็จมากๆ และทุ่มเทให้กับการทำงานอย่างหนัก ชีวิตกำลังไปได้ดีในทุกๆ ด้าน และถ้าหากมองอย่างไม่ถ่อมตัว ผู้อ่านส่วนหนึ่งก็อาจเข้าข่ายการเป็นคนกลุ่มดังกล่าวในช่วงใดช่วงหนึ่งของชีวิต แต่ไม่ว่าเราจะเป็นครู และคนที่เก่งแค่ไหน ก็อาจเคยได้พบเจอกับจุดที่รู้สึกว่าตัวเองกำลังหมิ่นเหม่ต่อการร่วงหล่นลงไปสู่หุบเหวของความล้มเหลว เป็นจุดที่สมองของเราล้าจนมันอาจเลือกที่จะพาให้ร่างกายของเราให้ห่างออกจากการทำแผนการสอน ตรวจการบ้าน กรอก ปพ. และเข้าสู่การทำสิ่งอื่นๆ เช่นการกดปากกาเล่นนานเป็นนาที หรือมองผ่านเอกสารตราครุฑที่อยู่ตรงหน้าเราโดยที่ไมได้อ่านแม้แต่คำเดียว
25 มิ.ย. 2563
เมื่อพูดถึงประเทศที่มีระบบการศึกษาดีที่สุดในโลก แน่นอนว่าทุกคนคงนึกถึงประเทศในแถบสแกนดิเนเวียที่เป็นบ้านเกิดของซานตาครอสอย่าง “ฟินแลนด์” ข้อมูลด้านการศึกษาเปิดเผยว่า นักเรียนที่อยากจะเรียนต่อด้านครุศาสตร์ที่นี่จะต้องฝ่าฟันกับอัตราการแข่งขันที่สูงลิบ เพราะจะมีนักเรียนเพียง 1 คน ต่อ 10 คน เท่านั้นที่จะได้รับการคัดเลือกได้เข้าเรียนต่อ แม้จะมีอัตราการแข่งขันที่สูงมาก และเงินเดือนเฉลี่ยของครูฟินแลนด์ไม่ได้สูงมากนักเมื่อเทียบกับอีกหลายอาชีพ อย่างไรก็ตาม “วิชาชีพครู” ได้รับการยกย่องจากสังคมฟินแลนด์ และมีคุณค่ามากในสายตาคนรุ่นใหม่ โดยผลสำรวจในปี 2013 บอกว่า 90% ของครูฝึกหัดก็ยังคงมีอาชีพเป็นครูไปตลอดช่วงชีวิตการทำงาน
8 มิ.ย. 2563
“ไม่มีเด็กคนไหนโง่ มีแต่เด็กที่มีความคิดไม่เหมือนกัน” คือคำตอบของครูฉัตรชัย ดีเลิศ ครูคณิตศาสตร์ประจำโรงเรียนบ้านโนนแสนคำ-หนองศาลาศรีสะอาด เพราะเด็กแต่ละคนแตกต่าง มีความคิด ความถนัด และศักยภาพที่ไม่เหมือนกัน ไม่มีเครื่องมือมาตรฐานเพียงหนึ่งเดียวที่จะตัดสินความสามารถพวกเขาได้ บุคลากรโรงเรียนบ้านโนนแสนคำ–หนองศาลาศรีสะอาด (ต่อไปจะขอเรียกเพียงโรงเรียนบ้านโนนแสนคำ) โรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลาง นักเรียน 274 คน ตั้งอยู่ในอำเภอกันทรลักษณ์ จังหวัดศรีสะเกษ พวกเขาเชื่อว่า เด็กแต่ละคนแตกต่าง วิธีการสอนแบบเดิมที่มีคำตอบเพียง ‘ถูกหรือผิด’ ใช้กับเด็กๆ ไม่ได้ ต้องเปลี่ยนการสอนแบบใหม่เพื่อให้เข้ากับเด็กได้ทุกคน นั่นคือ การสนับสนุนให้เด็กได้คิดและแสดงวิธีคิดในแบบของพวกเขาเอง